วันศุกร์ที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2561

ช่างแอร์ บางเสาธง ล้างแอร์ ซ่อมแอร์ ติดตั้งแอร์ ย้ายแอร์ บางเสาธง บริการงานแอร์ โดยช่างแอร์ บางเสาธง

ช่างแอร์ บางเสาธง ล้างแอร์ ซ่อมแอร์ ติดตั้งแอร์ ย้ายแอร์ บางเสาธง บริการงานแอร์ โดยช่างแอร์ บางเสาธง

https://ล้างแอร์บางเสาธง.blogspot.com/

เราทีมงาน ช่างแอร์ บางเสาธง บริการงานแอร์  ล้างแอร์ ล้างแอร์บ้าน ซ่อมแอร์ ซ่อมแอร์บ้าน ติดตั้งแอร์ ติดตั้งแอร์บ้าน ย้ายแอร์ ถอดแอร์ บางเสาธง พื้นที่ บางเสาธง ศรีษะจรเข้น้อย ศรีษะจรเข้ใหญ่ ซอยวัดบัวโรย ซอยเอแบคบางนา วัดศิริเสาธง และพื้นที่ใกล้เคียง.


รับบริการล้างแอร์ ล้างแอร์บ้าน บางเสาธง
-รับล้างแอร์ ล้างแอร์บ้าน แบบติดผนัง
-รับลางแอร์ แบบแขวนใต้ฝ้าเพดาน
รับบริการติดตั้งแอร์ ติดตั้งแอร์บ้าน บางเสาธง
-รับติดตั้งแอร์ใหม่ ทุกรุ่น ทุกยี่ห้อ
-รับติดตั้งแอร์เก่า ทุกรุ่น ทุกยี่ห้อ
รับบริการซ่อมแอร์ ซ่อมแอร์บ้าน บางเสาธง
-รับซ่อมแอร์ เนื่องจาก ระบบแอร์รั่วซึม
-รับซ่อมแอร์ เนื่องจาก ระบบแอร์ไม่เย็น
-รับซ่อมแอร์ เนื่องจาก ระบบแอร์ตัน
-รับซ่อมแอร์ เนื่องจาก แอร์เสียงดัง
-รับซ่อมแอร์ เนื่องจาก แอร์เปิดไม่ติด แอร์ไม่ทำงาน
-รับซ่อม เปลี่ยน คอมเพรสเซอร์แอร์ ทุกรุ่น ทุกยี่ห้อ
รับบริการเช็ค/เติมน้ำยาแอร์ เช็ค/เติมน้ำยาแอร์บ้าน บางเสาธง
-รับเติมน้ำยาแอร์ ทุกเบอร์ ทุกรุ่น ทุกยี่ห้อ
รับบริการย้ายแอร์ ย้ายแอร์บ้าน ถอดแอร์ รื้อแอร์ บางเสาธง
-รับย้ายแอร์ ถอดแอร์ รื้อแอร์ ทั้งชุด
-รับย้ายแอร์ ถอดแอร์ รื้อแอร์ เฉพาะคอยล์เย็น
-รับย้ายแอร์ ถอดแอร์ รื้อแอร์ เฉพาะคอยล์ร้อน

เราทีมงาน ช่างแอร์ บางเสาธง บริการงานแอร์  ล้างแอร์ ล้างแอร์บ้าน ซ่อมแอร์ ซ่อมแอร์บ้าน ติดตั้งแอร์ ติดตั้งแอร์บ้าน ย้ายแอร์ ถอดแอร์ บางเสาธง พื้นที่ บางเสาธง ศรีษะจรเข้น้อย ศรีษะจรเข้ใหญ่ ซอยวัดบัวโรย ซอยเอแบคบางนา วัดศิริเสาธง และพื้นที่ใกล้เคียง.


ติดต่อเราได้ที่
โทร. 085-0252102,
ทีมงาน ช่างแอร์ พีแอนด์เอ แอร์ เซอร์วิส P&A air service บริการงานแอร์ด้วยความจริงใจ

องค์ประกอบและหลักการทำงานของเครื่องปรับอากาศ
การปรับอากาศ ความหมายคือ ปรับให้อากาศเย็นหรือร้อนก็ได้ ถ้าพูดถึงปรับอากาศให้เย็น เราจะนึกถึงคำว่าแอร์นั่นเอง ในที่นี้เราจะพูดคุยกันอย่างง่ายๆ ถามว่าแอร์เกี่ยวกับความร้อนหรือไม่ เกี่ยวแน่นอน เพราะแอร์เป็นตัวนำความร้อนจากภายในห้อง ออกไปทิ้งข้างนอก ทิ้งอย่างไรมันมีขบวนการของมันโดยใช้เครื่องมือ 4 ตัว คือ
1. EVAPPORATOR
2. COMPRESSOR
3. CONDENSER
4. CAPILLARY TUBE
EVAPPORATOR คือ เครื่องระเหย หรือที่เราเรียกกันว่า คอล์ยเย็น หลักการทำงานคือ ดูดความร้อนจากภายในห้อง โดยมีมอเตอร์พัดลมเป็นตัวดูดเข้ามา ผ่านช่องที่เรียกว่า Return Air ซึ่งมี Filter เป็น ตัวกรองฝุ่นให้ก่อน แล้วความร้อนที่ถูกดูดเข้ามานั้น จะมาสัมผัสกับคอล์ยเย็นที่มีน้ำยาแอร์ ที่เป็นของเหลว ซึ่งอุณหภูมิติดลบ วิ่งอยู่ในท่อนั้น จะเกิดการระเหยเป็นไอ(แรงดันต่ำ)
COMPRESSOR คือ เครื่องอัดไอ การทำงานหรือหน้าที่ของมันคือ ดูดไอ(แรงดันตำ) ซึ่งเกิดจากการระเหยภายในคอล์ยเย็น ทำการอัดให้เป็นไอ(แรงดันสูง) อุณหภูมิสูง เพื่อส่งไประบายความร้อนต่อไป
CONDENSER คือเครื่องควบแน่น หรือที่เรียกกันว่า คอล์ยร้อน หน้าที่ของมันคือรับไอร้อนที่ถูก COMPRESSOR อัด จนร้อนและมีอุณหภูมิสูง เข้ามาในแผงพื้นที่ของมัน จากไอที่มีอุณหภูมิสูง เมื่อมาเจอกับอากาศภายในห้อง ซึ่งมีอุณหภูมิต่ำกว่า ความร้อนจึงถูกถ่ายเทออกไปได้โดยไอร้อนนั้น และจะควบแน่นกลายเป็นของเหลว(แรงดันสูง-อุณหภูมิสูง)แต่มีมอเตอร์พัดลมเป็นตัว ช่วยระบายความร้อนออกไปให้เร็วขึ้น เมื่อเป็นของเหลวแล้วก็สามารถกลับมารับความร้อนภายในห้องได้อีก แต่ของเหลวนั้นยังมีอุณหภูมิสูงอยู่ จึงต้องทำให้อุณหภูมินั้นลดลงก่อน
CAPILLARY TUBE คือ ท่อลดแรงดันหรือท่อรูเข็ม ชื่อก็บอกอยู่แล้วว่าเล็กมาก จะเรียกว่า แค๊ปทิ้ว หน้าที่ของมันคือลดแรงดันของน้ำยาแอร์(ของเหลว)จากที่ถูกระบายความร้อนแล้ว ยังมีอุณหภูมิสูง-แรงดันสูง เมื่อมาเจอท่อรูเข็ม ทำให้ของเหลวอั้น ผ่านได้น้อย ทำให้ของเหลวนั้น มีอุณหภูมิลดลง และแรงดันลดลง น้ำยาแอร์(ของเหลว)และไหลพอดีเหมาะสมกับพื้นที่ของคอล์ยเย็ย เพื่อที่จะมารับความร้อน ในห้องได้อีกครั้ง
หลังจากได้ทราบถึงวงจรการทำงานของเครื่องปรับอากาศแล้ว เราจะมาศึกษาถึงที่มาที่ไปบ้าง
ระบบการทำความเย็นที่เรากำลังกล่าวถึงคือระบบอัดไอ (Vapor-Compression Cycle) ซึ่งมีหลักการทำงานง่ายๆคือ การทำให้สารทำความเย็น (น้ำยา) ไหลวนไปตามระบบ โดยผ่านส่วนประกอบหลักทั้ง 4 อย่างต่อเนื่องเป็น วัฏจักรการทำความเย็น(Refrigeration Cycle)โดยมีกระบวนการดังนี้
1) เริ่มต้นโดยคอมเพรสเซอร์ทำหน้าที่ดูดและอัดสารทำความเย็นเพื่อเพิ่มความดัน และอุณหภูมิของน้ำยา แล้วส่งต่อเข้าคอยล์ร้อน
2) น้ำยาแอร์ จะไหลวนผ่านแผงคอยล์ร้อน โดยมีพัดลมเป่าเพื่อช่วยระบายความร้อน ทำให้น้ำยาจะที่ออกจากคอยล์ร้อน มีอุณหภูมิลดลง (ความดันคงที่) จากนั้นจะถูกส่งต่อให้อุปกรณ์ลดความดัน
3) น้ำยาแอร์ ที่ไหลผ่านอุปกรณ์ลดความดัน จะมีความดันและอุณหภูมิที่ต่ำมาก แล้วไหลเข้าสู่คอยล์เย็น (หรือที่นิยมเรียกกันว่า การฉีดน้ำยา)
4) จากนั้นน้ำยาแอร์ จะไหลวนผ่านแผงคอยล์เย็นโดยมีพัดลมเป่าเพื่อช่วยดูดซับความร้อน จากภายในห้อง เพื่อทำให้อุณหภูมิห้องลดลง ซึ่งทำให้น้ำยาที่ออกจากคอยล์เย็นมีอุณหภูมิที่สูงขึ้น (ความดันคงที่) จากนั้นจะถูกส่งกลับเข้าคอมเพรสเซอร์เพื่อทำการหมุนเวียนน้ำยาต่อไป
หลังจากที่เรารู้การทำงานของวัฏจักรการทำความเย็นแล้วก็พอจะสรุปง่ายๆได้ดังนี้
1) สารทำความเย็นหรือน้ำยาแอร์ ทำหน้าที่เป็นตัวกลางดูดเอาความร้อนภายในห้อง (Indoor) ออกมานอกห้อง (Outdoor) จากนั้นน้ำยาจะถูกทำให้เย็นอีกครั้งแล้วส่งกลับเข้าห้องเพื่อดูดซับความร้อน อีก โดยกระบวนการนี้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตลอดการทำงานของคอมเพรสเซอร์
2) คอมเพรสเซอร์เป็นอุปกรณ์ชนิดเดียวในระบบที่ทำหน้าที่ขับเคลื่อนน้ำยาแอร์ผ่าน ส่วนประกอบหลัก คือคอยล์ร้อน อุปกรณ์ลดความดัน และคอยล์เย็น โดยจะเริ่มทำงานเมื่ออุณหภูมิภายในห้องสูงเกินอุณหภูมิที่เราตั้งไว้ และจะหยุดทำงานเมื่ออุณหภูมิภายในห้องต่ำกว่าอุณหภูมิที่เราตั้งไว้ ดังนั้นคอมเพรสเซอร์จะเริ่ม และหยุดทำงานอยู่ตลอดเวลาเป็นระยะๆ เพื่อรักษาอุณหภูมิห้องให้สม่ำเสมอตามที่เราต้องการ
*คำว่า BTU ที่ใช้กับเครื่องปรับอากาศ เป็นหน่วยความร้อน ย่อมาจาก BRITISH THERMAL UNIT*

เราทีมงาน ช่างแอร์ บางเสาธง บริการงานแอร์  ล้างแอร์ ล้างแอร์บ้าน ซ่อมแอร์ ซ่อมแอร์บ้าน ติดตั้งแอร์ ติดตั้งแอร์บ้าน ย้ายแอร์ ถอดแอร์ บางเสาธง พื้นที่ บางเสาธง ศรีษะจรเข้น้อย ศรีษะจรเข้ใหญ่ ซอยวัดบัวโรย ซอยเอแบคบางนา วัดศิริเสาธง และพื้นที่ใกล้เคียง.

ติดต่อเราได้ที่
โทร. 085-0252102,

หรือ กด Add Line ที่:





ทีมงาน ช่างแอร์ พีแอนด์เอ แอร์ เซอร์วิส P&A air service บริการงานแอร์ด้วยความจริงใจ


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น